Health Tips
2 โรคปวดเรื้อรังในผู้สูงวัย
ปวดหลังร้าวลงขา และ ปวดเข่าจากข้อเข่าเสื่อม 2 โรคปวดเรื้อรังในผู้สูงวัย จัดการได้ไม่ต้องผ่าตัด
บางครั้งปัญหาอาการปวดหลัง และปวดเข่า เป็นมากกว่าอาการปวดในชีวิตประจำวัน จึงต้องใส่ใจสัญญาณความผิดปกติให้มาก เพราะถ้าปล่อยไว้นาน โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท และ โรคข้อเข่าเสื่อม อาจมาเยือน
อย่าให้งานหนัก ย้อนกลับมาทำร้ายร่างกาย
การทำงานหนัก อาจเป็นสาเหตุหลัก ที่ทำให้เราละเลยเรื่องของการดูแลตัวเองไป และผลที่จะตามของเรื่องนี้ ก็อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเราในระยะยาวอีกด้วย แต่ผลกระทบอย่างไร และมีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพใดบ้าง ไปเช็กกันเลย
“ภาวะลำไส้รั่วซึม” (Leaky Gut Syndrome) ภัยเงียบที่ต้องระวัง
เมื่อกล่าวถึง “โรคระบบทางเดินอาหาร” เราก็มักจะคิดถึงโรคกระเพาะ กรดไหลย้อน ลำไส้อักเสบ ท้องเสีย หรือมะเร็งลำไส้ เป็นต้น สิ่งที่คนส่วนใหญ่ยังไม่ทราบ คือ โรคต่างๆ ส่วนใหญ่มีต้นตอมาจาก “ลำไส้” ซึ่งปัญหาระบบการทำงานของลำไส้ยังเชื่อมโยงกับเรื่องภูมิต้านทาน และสารสื่อประสาท
พิชิตภูมิแพ้ ด้วยการรักษาให้ตรงจุด
โรคภูมิแพ้ โรคยอดฮิตของคนทุกเพศทุกวัย สามารถดีขึ้นได้ไม่ใช่แค่ใช้ “ยา” เพราะนั่นเป็นเสมือนการรักษาที่ปลายเหตุ ดังนั้นคำตอบที่ดีที่สุดของการดูแลรักษา นั่นก็คือการแก้ปัญหาตั้งแต่ต้นเหตุและหาสาเหตุให้ตรงจุด
เพิ่มความอ่อนเยาว์ คงความหนุ่มสาว ด้วย NAD + Therapy
NAD+ หรือ Nicotinamide Adenine Dinucleotide เป็นหนึ่งในโมเลกุลสำคัญของร่างกายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยมีคุณสมบัติในการซ่อมแซมเซลล์ ซ่อมแซม DNA ช่วยการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยต่อต้านริ้วรอย ช่วยกระบวนการเผาผลาญของพลังงานในร่างกายให้ทำงานได้ดีขึ้น
เทคนิคการทานอาหารให้อายุยืนยาว
อาหารบนโลกของเรามีมากมายหลายล้านชนิด แต่ก็ใช่ว่าอาหารทุกชนิด ทานแล้วจะเป็นผลดีกับสุขภาพและร่างกายในระยะยาว เพราะดีไม่ดีอาหารบางชนิดเมื่อทานเข้าไปแล้ว แทนที่จะช่วยให้อายุยืน ก็อาจเป็นต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่คาดไม่ถึงก็เป็นได้
เบาหวานกับโรคแทรกซ้อน ป้องกันก่อนด้วย ALA
ALA คืออะไร และมีส่วนช่วยป้องกันโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานได้จริงหรือไม่ และถ้าได้จะช่วยอย่างไร บทความนี้มีข้อมูลความรู้นี้มาบอก
สารทดแทนความหวาน เลือกทานอย่างไรดี
สำหรับผู้ป่วยเบาหวานและ ผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก ความหวาน เป็นสิ่งที่ต้องควบคุมในคนกลุ่มนี้ เป็นอย่างมาก แต่จะทำอย่างไรได้ล่ะ ทั้งที่รู้ว่าติดหวานมากไปมันไม่ดี แต่ยังไงก็อยากทานหวาน จึงต้องหา “น้ำตาลทดแทน” มาใช้ในอาหาร แต่จะเลือกความหวานทดแทนจากแหล่งไหน ให้เหมาะสม นี่คือสิ่งที่คุณต้องรู้เกี่ยวกับสารให้ความหวานหรือน้ำตาลทดแทน 3 ชนิดที่เราอาจเคยได้ยินผ่านหูบ่อย ๆ มากฝากกัน
- Page Previous
- Page 1
- You're currently reading page 2
- Page 3
- Page 4
- Page 5
- Page 6
- Page ถัดไป
เข้าสู่ระบบ
Create New Account