Health Tips
คำแนะนำ การแยกเพื่อสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Self-Quarantine at Home)
คำแนะนำ การแยกเพื่อสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Self-Quarantine at Home) สำหรับผู้ที่เข้าข่ายสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
น้ำตาลขึ้นสูงหลังมื้ออาหาร อันตรายของเบาหวานที่ห้ามมองข้าม
ภาวะไกลเคชั่นอันตรายและส่งผลกับร่างกายอย่างมาก เพราะในผู้ป่วยโรคเบาหวาน Glycotoxin จะไปสะสมในเม็ดเลือด ทำให้เม็ดเลือดทำงานไม่ได้ เข้าไปสะสมในหลอดเลือดที่ดวงตา ทำให้จอประสาทตาเสื่อม เข้าไปสะสมในเส้นประสาท ทำให้เส้นประสาทเสื่อม เข้าไปสะสมในเนื้อเยื่อของไต ทำให้หน่วยไตทำงานไม่ได้ ฯลฯ อีกทั้ง Glycotoxin ที่ถูกดูดซึม ร่างกายขับออกได้เพียง 30 % ที่เหลือจะไปสะสมในเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของร่างกาย
เป็นรอยดำที่คอ ส่อเค้าโรคเบาหวานถามหา
เชื่อว่าคงมีคนใกล้ตัวของหลาย ๆ คน เคยเจอกับปัญหารอยดำเป็นปื้นที่รอบคอ ซึ่งขัดเท่าไหร่ก็ไม่หาย และท้ายที่สุดก็พบว่ารอยดำนั้นเป็นผลพวงมาจากโรคเบาหวานที่มีสาเหตุแฝงมากับอาหารการกินของเขาโดยไม่รู้ตัว
ปัสสาวะบ่อยๆ ตอนกลางคืน อาจเสี่ยงโรคหัวใจ
“ตื่นมา ปัสสาวะบ่อยๆ ตอนกลางคืน อาจเสี่ยงโรคหัวใจ” ลองสำรวจตัวเอง ว่ามีอาการแบบนี้หรือไม่? “กลางคืนไม่สามารถนอนหลับสนิทได้ยาว และต้องลุกขึ้นมาปัสสาวะตอนกลางคืนบ่อยๆ” “เหนื่อยง่ายขึ้น อ่อนเพลียง่ายขึ้น” “หลังตื่นนอนตอนเช้า ยังงัวเงีย ไม่สดชื่น”
โมดิฟาย ไมเยอร์ค็อกเทล วิตามินบำบัด ขจัดความอ่อนเพลีย
การให้สารอาหารบำบัดทางหลอดเลือด เป็น 1 ในวิธีการรักษาทางโภชนาบำบัด หรือ nutritional medicine ซึงมีหลักการและแนวคิดว่า สภาพร่างกายของผู้ป่วยที่สมบูรณ์ด้วยสารอาหาร ย่อมฟื้นตัวจาการเจ็บป่วย และแข็งแรงกว่าผู้ที่มีภาวะเสียสมดุลของสารอาหาร
เจ็บอก.... เจ็บใจ สัญญานเตือนภัยที่ต้องรู้
หัวใจเป็นอวัยวะที่ทำงานหนักที่สุดอวัยวะหนึ่งของร่างกาย คือ ทำงานทั้งกลางวัน กลางคืน ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่พัก ทุก ๆ วัน หัวใจจะเต้นประมาณ 100,000 ครั้ง และสูบฉีดเลือดประมาณ 2,000 แกลลอน ทำงานหนักอย่างนี้ บางครั้งคนเรากลับไม่ค่อยทะนุถนอม ใจดวงน้อย ๆ นี้ ให้อยู่กับเราไปนาน ๆ นี่จึงเป็นเหตุที่ว่า คนยุคปัจจุบัน ตายด้วยโรคหัวใจเป็นอันดับต้น ๆ ในเมืองไทยบางปีก็เป็นอันดับหนึ่ง บางปีก็เป็นอันดับสองรองจากมะเร็ง
เสริมภูมิต้านทานโรค ด้วยการแพทย์ผสมผสาน
ในปัจจุบันเชื้อไวรัสและเชื้อโรค มีพัฒนาการที่รวดเร็ว เกิดเป็นสายพันธ์ต่างๆ แต่เคยสังเกตบ้างไหมว่าทำไมบางคนมีสุขภาพแข็งแรงไม่เจ็บป่วย แต่ทำไมบางคนจึงป่วยบ่อย คนที่ไม่เจ็บป่วยง่ายๆ ก็เพราะร่างกายมีระบบภูมิคุ้มกันคอยปกป้องอยู่ ภูมิคุ้มกัน เป็นกลไกการป้องกันตนเองอย่างหนึ่งของร่างกาย ในสภาวะปัจจุบัน เราต้องเผชิญกับสารพิษ สารเคมีทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่เรียกรวมๆ ว่าปัจจัยนำเข้า นั่นก็คือ
ปัญหาวัยทอง รักษาและฟื้นฟูได้
เมื่อพูดถึงคำว่า “วัยทอง” คนทั่วไปอาจจะเข้าใจว่า หมายถึง ผู้หญิงที่เข้าสู่วัยหมดประจำเดือน แต่ผู้ชายก็ต้องก้าวสู่วัยทองเช่นเดียวกัน เมื่อฮอร์โมนเพศชายหรือเทสโทสเทอโรนลดลง ซึ่งในทางการแพทย์เรียกผู้ชายวัยทองว่า “แอนโดรพอส” (Andropause)
- You're currently reading page 1
- Page 2
- Page ถัดไป
Sign In
Create New Account